ทริคเล็กๆ น้อยๆกับวิธีรักษา น้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า ให้อยู่ได้นานมากขึ้น

ทริคเล็กๆ น้อยๆกับวิธีรักษา น้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า ให้อยู่ได้นานมากขึ้น

ปัจจุบันการเก็บรักษา น้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า มีทำออกมาอย่างหลากหลาย หลายกลิ่นหลายรสชาติให้ผู้สูบ ได้เลือกใช้ได้อย่างเต็มอิ่ม แต่ในเรื่องของวิธีการรักษาเราจะทำให้ยังไงให้มันเก็บได้นานขึ้น สิ่งแรกที่คุณต้องทำคือย้ายตัวน้ำยาจากขวดพลาสติกไปยังขวดแก้ว เพราะโดยปกติแล้วจากของเหลวและก๊าซ และองค์ประกอบอื่นๆ เช่น ออกซิเจน อากาศ สามารถที่จะแทรกซึมออกหรือทะลุผ่านขวดพลาสติกที่มาในรูปแบบดั้งเดิม ซึ่งปัญหาตรงนี้จะไปกระทบต่อน้ำยาของคุณได้จนทำให้เสียคุณภาพ ถึงแล้วเราจะเก็บไว้ในที่มืดสนิทแล้วก็ตาม อย่างคำแนะนำจากร้านค้าก็ตาม แต่การเก็บไว้ในขวดแก้ว สีของตัวน้ำยาจะค่อยๆ เข้ม และมีประสิทธิภาพในการจัดเก็บที่มากกว่าในระยะยาว หากเราเลือกที่จะบรรจุในขวดแก้ว เพราะตัวภาชนะที่ใส่เป็นแก้วจึงสามารถกันออกซิเจน ความร้อน และอากาศได้ดีกว่าขวดพลาสติก แต่ยังไงแล้วผู้ใช้เองก็ต้องเก็บให้ห่างจากแสงแดด แต่ถ้าจะให้ดีแล้วแนะนำเก็บในช่องแช่แข็งอย่างตู้เย็น หรือยิ่งเป็นที่มืดได้ยิ่งดี เพราะช่องแช่แข็งยังเหมาะอย่างยิ่งในการ เก็บรักษาน้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า ไม่ให้โมเลกุลสลายไป ถึงแม้เราจะเก็บไว้ตู้เย็นก็ไม่ได้แข็งจนเป็นน้ำแข็งทั้งหมด เพราะตัวน้ำยายังคงรสชาติไว้อย่างเกือบครบถ้วนไม่ว่าจะเป็น นิโคติน และรสชาติของน้ำยาเอาไว้ เพราะเหตุนี้เราจึงบอกเป็นแนวทางการเก็บรักษาที่จะช่วยยืดอายุให้ได้ไปอีกอย่างน้อย 3-1 ปี

วิธีทำความสะอาด แท็งก์เก็บน้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า และตัวบุหรี่ไฟฟ้า

ผู้ใช้นำกระดาษเช็ดมือเนื้อนิ่มหรือทิชชูหรือผ้านุ่มๆ ค่อยๆ เช็ดแท็งก์เพื่อกำจัดคราบน้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า ส่วนเกินออก ที่ได้หลงเหลือไว้ในตอนสูบ ยิ่งหากแทงก์น้ำยาสกปรกมากเป็นพิเศษ ผู้ใช้สามารถใช้แอลกอฮอล์ล้างแผลปริมาณเล็กน้อยกับสำลีก้อนหรือจะใช้คัตเตอร์บัตเพื่อทำความสะอาดได้ ข้อควรระวังอย่าให้แอลกอฮอล์โดนตัวคอยล์ เพราะถือว่าเป็นส่วนสำคัญของ บุหรี่ไฟฟ้า และผู้ใช้จึงควรทำความสะอาดเป็นประจำเพื่อ ทั้งในเรื่องของความสะอาด และคุณภาพของตัวน้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า หรือจะใช้ขนแปรงนุ่มๆ ปัดเศษฝุ่นละอองออกจากตัวชิ้นส่วนเล็กๆ น้อยๆ ของตัวบุหรี่ไฟฟ้าก็ได้เหมือนกัน

การเลือกน้ำยาบุหรี่ไฟฟ้าอย่างไงให้เหมาะสมกับคอยล์ที่ใช้กับบุหรี่ไฟฟ้า

ทริคเล็กๆ น้อยๆกับวิธีรักษา น้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า ให้อยู่ได้นานมากขึ้น

  1. คอยล์แบบ DTL (Direct to Lung)

ค่า 0.17-0.3 สามารถใช้ได้เฉพาะ น้ำยาฟรีเบส เท่านั้น ค่า 0.4-0.6 ใช้น้ำยาฟรีเบสได้โดยการปรับไฟไม่เกิน 25 วัตต์ หากใช้น้ำยาซอลนิคไม่ควรใช้ตัวที่มีความเข้มข้นของนิโคตินเกิน 25 มิลลิกรัม ควบคู่กับการใช้ไฟไม่เกิน 14 วัตต์

  1. คอยล์แบบ MTL (Mouth To Lung)

ค่าเท่ากับหรือมากกว่า 0.6Ω เหมาะสำหรับน้ำยาซอลนิคทุกระดับ แต่ควรปรับไฟไม่เกิน 25 วัตต์ ค่าเท่ากับหรือมากกว่า 1.0-1.4 เหมาะกับเฉพาะน้ำยาซอลนิคเข้มข้นประมาณ 50 มิลลิกรัม ควรปรับไฟไม่เกิน 12 วัตต์

  1. คอยล์แบบ RBA (คอยล์โม)

หากใช้น้ำยาฟรีเบสควรโมลวดให้ไม่เกิน 0.4Ω แต่หากจะใช้กับน้ำยาซอลนิคควรโมลวดให้อยู่ที่ 0.6Ω ขึ้นไป และไม่ควรใช้แบบเข้มข้นเกิน 35 มิลลิกรัม